Header

280 วัน ครรภ์คุณภาพ

นพ.บุญชู สถิรลีลา โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ นพ.บุญชู สถิรลีลา

เก้าเดือนนานขนาดไหนกันนะ?

  • 280 วัน
  • 40 สัปดาห์
  • 3 ไตรมาส

 

ไตรมาสที่หนึ่ง ( 3 เดือนแรก)
เกิดอะไรกับร่างกายคุณแม่ ในสามเดือนแรก

  • เต้านมคัดตึง ขยายใหญ่ขึ้น
  • หน่วงท้องน้อยได้นิดหน่อย
  • อารมณ์เปลี่ยนแปลง
  • อ่อนเพลีย ง่วงนอน
  • คลื่นไส้ แพ้ท้อง
  • น้ำหนักอาจจะเริ่มขึ้นได้
  • อาจมีฝ้าขึ้นที่หน้า

ควรฝากครรภ์เลยไหม? หรือต้องรอก่อน?

  • ากครรภ์ได้ทันทีหลังจากรู้ว่าตั้งครรภ์
  • ข้อดีของการฝากครรภ์เร็ว
  • ยาบำรุงครรภ์ทันพัฒนาทางสมอง
  • ตัดปัญหา อายุครรภ์ไม่แน่นอน
  • ตรวจพบความผิดปกติจะได้รักษาก่อนอายุครรภ์มาก

ไปฝากครรภ์ครั้งแรก ทำอะไรบ้าง

  • สอบถามประวัติโรคประจำตัว
  • ประวัติครรภ์ก่อน
  • ตรวจร่างกายทั่วไป
  • ตรวจภายใน
  • เจาะเลือด ตรวจปัสสาวะ
  • ตรวจความเสี่ยงธาลัสซีเมีย
  • อัลตร้าซาวน์ครั้งแรก
  • นัดพบแพทย์เดือนละครั้ง

 

 

ไตรมาสที่ 2(เดือนที่ 4-6)
คุณแม่เป็นอย่างไรใน เดือนที่ 4-6

  • สบายตัวที่สุด
  • อาการแพ้หายไป
  • ท้องเริ่มนูนเห็นได้ชัด ผิวพรรณสดใส
  • ลูกดิ้นครั้งแรก อายุครรภ์ 16-20 สัปดาห์
  • เต้านมจะขยาย 1-2 นิ้ว อาจต้องเปลี่ยนบรา
  • ช่วงท้ายอาจเริ่มจุกหลังทานข้าว ปัสสาวะบ่อย ตะคริว
  • น้ำหนักขึ้นประมาณคริ่งกิโลต่อสัปดาห์ ประมาณ 7-8 kg

ฝากครรภ์

  • ตรวจเลือดดูโครโมโซมผิดปกติ เช่น อาการดาวน์
  • อัลตร้าซาวน์อย่างละเอียด คัดกรองความผิดปกติ
  • สี่มิติมองเห็นชัดที่สุด
  • อาจมองเห็นอวัยวะเพศ ที่ 16 -20 สัปดาห์
  • ตรวจเลือดดูเบาหวาน
  • เจาะน้ำคร่ำถ้ามีข้อบ่งชี้

 

 

ไตรมาสที่ 3 (เดือนที่ 7-9)
คุณแม่ในสามเดือนสุดท้าย

  • ลูกดิ้นบ่อยขึ้น ชัดเจนขึ้น
  • มดลูกเริ่มมีการบีบตัวเบาๆ ระยะห่างๆกัน ไม่ปวด
  • เหนื่อยง่ายขึ้น นอนไม่หลับ ปวดตัว
  • หายใจตื้นลง ไม่ค่อยอิ่ม
  • อาจเริ่มมีท้องผูก ริดสีดวง
  • ปวดหลัง รองเท้าคับ
  • ปัสสาวะบ่อย มีเล็ดได้บ้าง
  • มือเท้าบวมเล็กน้อย
  • น้ำหนักขึ้นได้ ครึ่งกิโลต่อสัปดาห์
  • ท้องลด

ฝากครรภ์

  • ตรวจความเข้มข้นเลือด และ
  • นัดติดตามถี่ขึ้น ทุก 2 สัปดาห์ และ ทุกสัปดาห์ตามลำดับ
  • ติดตามการเจริญเติบโตและสุขภาพของทารก
  • นับลูกดิ้น
  • ฉีดวัคซีนเพื่อให้ภูมิคุ้มกันแก่ลูก
  • ประเมินช่องทางคลอด รก สายสะดือและน้ำหนักเด็ก
  • วางแผนการคลอด

 

 

คำถามที่ถามบ่อยๆ

ระหว่างตั้งครรภ์ออกกำลังกายได้ไหม จะเสี่ยงแท้งหรือไม่?

  • ควรออกกำลังกายอย่างยิ่ง เพราะช่วย
  • ลดปวดหลัง
  • คุมน้ำหนัก
  • ลดท้องผูก
  • ลดเบาหวานและครรภ์เป็นพิษ
  • ลดการคลอดก่อนกำหนด และการผ่าตัดคลอด
  • 150 นาทีต่อสัปดาห์ อาจแบ่งเป็น วันละ 30 นาที ให้หัวใจเต้นเร็ว พูดคุยได้ แต่ร้องเพลงไม่ได้
  • เดินเร็ว ว่ายน้ำ โยคะ พิลาทิส (เลี่ยงการกระแทก ระวังล้ม ไม่ดำน้ำ hot ทั้งหลาย)
  • ค่อยๆเพิ่ม จากห้านาทีก่อน
  • กินน้ำเยอะๆ
  • ใส่ sport bra, ใช้ผ้ารัดท้อง

ท้องแล้วห้ามมีเพศสัมพันธ์จริงหรือไม่?

  • สามารถมีได้ตามปกติ ยกเว้นกรณีพิเศษ เช่น เสี่ยงแท้ง เจ็บครรภ์ก่อนกำหนด รกเกาะต่ำ
  • ท่าที่สบาย
  • ถ้าทำ oral sex หลีกเลี่ยงการเป่าลมเข้าช่องคลอด

นับลูกดิ้นเพื่ออะไร นับอย่างไรและเมื่อไหร่?

  • เป็นวิธีดูสุขภาพลูกแบบง่ายๆโดยคุณแม่
  • เริ่มนับหลังจาก 28 สัปดาห์
  • มีหลายวิธีนับ
  • ที่นิยมคือการนับให้ได้เกิน 10 ครั้งใน 12 ชั่วโมง หรือ
  • นับหลังอาหารทุกมื้อให้ได้อย่างน้อย 3 ครั้งใน 1 ชม.

อาหารของคุณแม่ระหว่างตั้งครรภ์

  • ควรกินอาหารให้ครบห้าหมู่ เน้นผัก ผลไม้ โปรตีน
  • หลีกเลี่ยงอาหารไม่สุก
  • ปลาทะเลกินได้ไม่เกิน 200 กรัมหรือสองขีด ต่อสัปดาห์
  • หลีกเลี่ยงกาแฟและน้ำอัดลม
  • ไม่ต้องกินเผื่อลูกมาก เพิ่มแค่ 300 แคลอรีพอ

 

 

 

สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการรักษาได้ที่ Call Center 02-080-5999 หรือ LINE : @psuv

หรือ คลิกที่นี่เพื่อ Add Line ของเรา

ศูนย์การแพทย์ที่เกี่ยวข้อง

แผนกสุขภาพสตรี

สถานที่

อาคาร A ชั้น 2

เวลาทำการ

จันทร์ - อาทิตย์ 08.00 -20.00

เบอร์ติดต่อ

02 080 5999 ต่อ 4204

แพทย์แนะนำ

ศูนย์ศัลยกรรมทั่วไป

พญ.กิติยา จันทรวิถี

พญ.กิติยา จันทรวิถี

ศูนย์ศัลยกรรมทั่วไป

อายุรแพทย์โรคหัวใจและหลอดเลือด

นพ. ลิขิต กำธรวิจิตรกุล

ศัลยเเพทย์ออร์ปิดิกส์

บทความที่เกี่ยวข้อง

ตะคริว อาการใกล้ตัว ที่หลาย ๆ คนต้องเคยเป็น

ปัญหาเรื่อง “ตะคริว” เป็นปัญหาประจำที่เชื่อว่าทุกคน ทุกครอบครัวมีประสบการณ์มากันทั้งนั้น  ในบางครั้งเกิดขึ้นในช่วงที่ไม่ควรเกิดขึ้น

blank บทความโดย : โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
ตะคริว อาการใกล้ตัว ที่หลาย ๆ คนต้องเคยเป็น

ปัญหาเรื่อง “ตะคริว” เป็นปัญหาประจำที่เชื่อว่าทุกคน ทุกครอบครัวมีประสบการณ์มากันทั้งนั้น  ในบางครั้งเกิดขึ้นในช่วงที่ไม่ควรเกิดขึ้น

blank บทความโดย : โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
โรคเด็กที่พบบ่อยในฤดูฝน

ในฤดูฝนแต่ละปี จะสังเกตได้ว่าเด็กๆ จะไม่สบายได้ง่าย เพราะอากาศจะเริ่มเย็นลงและชื้นมากขึ้น แถมยังมีเชื้อไวรัสอีกมากมายที่สามารถทำให้เด็ก ๆ ไม่สบายได้ โรคเด็กที่พบบ่อยในฤดูนี้คือโรคติดเชื้อเฉียบพลันของทางเดินหายใจ,โรคที่ยุงเป็นพาหะ เช่น โรคไข้เลือดออกและไข้สมองอักเสบ ถ้ามีน้ำท่วมขังก็จะเห็นโรคเท้าเปื่อยด้วยค่ะ

พญ.สุรีย์พร กอบเกื้อชัยพงษ์

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
โรคเด็กที่พบบ่อยในฤดูฝน

ในฤดูฝนแต่ละปี จะสังเกตได้ว่าเด็กๆ จะไม่สบายได้ง่าย เพราะอากาศจะเริ่มเย็นลงและชื้นมากขึ้น แถมยังมีเชื้อไวรัสอีกมากมายที่สามารถทำให้เด็ก ๆ ไม่สบายได้ โรคเด็กที่พบบ่อยในฤดูนี้คือโรคติดเชื้อเฉียบพลันของทางเดินหายใจ,โรคที่ยุงเป็นพาหะ เช่น โรคไข้เลือดออกและไข้สมองอักเสบ ถ้ามีน้ำท่วมขังก็จะเห็นโรคเท้าเปื่อยด้วยค่ะ

พญ.สุรีย์พร กอบเกื้อชัยพงษ์

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
เปรียบเทียบอาการ สาเหตุ และวิธีการป้องกันไข้มาลาเรียโนวไซ โควิดโอมิครอน และไข้หวัดใหญ่

นอกจากการระบาดของโควิดโอมิครอนและไข้หวัดใหญ่ที่ต้องเฝ้าระวังในตอนนี้แล้ว ล่าสุดกรมควบคุมโรคได้ประกาศให้ระวังโรค “ไข้มาลาเรียโนวไซ” ที่ติดต่อจากลิงสู่คน

เปรียบเทียบอาการ สาเหตุ และวิธีการป้องกันไข้มาลาเรียโนวไซ โควิดโอมิครอน และไข้หวัดใหญ่

นอกจากการระบาดของโควิดโอมิครอนและไข้หวัดใหญ่ที่ต้องเฝ้าระวังในตอนนี้แล้ว ล่าสุดกรมควบคุมโรคได้ประกาศให้ระวังโรค “ไข้มาลาเรียโนวไซ” ที่ติดต่อจากลิงสู่คน