Header

6 สัญญาณเตือนโรคหัวใจ อาการแบบนี้ เป็นโรคหัวใจชนิดไหน ?

blank บทความโดย : คลินิกโรคหัวใจ โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ

โรคหัวใจ หรือ Heart Disease หมายถึง โรคต่าง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อการทำงานของหัวใจ โดยความผิดปกติที่เกิดขึ้นในส่วนของหัวใจที่ต่างกัน ทำให้โรคหัวใจมีอาการต่างกันไปในแต่ละชนิดดังนี้

โรคหลอดเลือดหัวใจ

เจ็บหรือแน่นหน้าอก ร้าวไปตามกราม แขน ลำคอ เหนื่อย อ่อนเพลีย หรือหมดสติได้

 

โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ

 หัวใจอาจเต้นเร็วหรือช้ากว่าผิดปกติ ใจสั่น เหนื่อยง่าย แน่นหน้าอก เวียนศีรษะ หรือคล้ายจะเป็นลม

 

โรคกล้ามเนื้อหัวใจ

เหนื่อยง่าย หายใจไม่อิ่ม มักมีอาการมากขึ้นเมื่อต้องออกแรงหนัก ๆ บวมตามแขน ขา นอนราบไม่ได้ และตื่นขึ้นมาไอในเวลากลางคืน

 

โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด

เป็นโรคที่เกิดขึ้นตั้งแต่เมื่อทารกอยู่ในครรภ์มารดาทารกมีอาการเหนื่อยขณะให้นม เลี้ยงไม่โต

 

โรคลิ้นหัวใจ

หากมีความผิดปกติของลิ้นหัวใจมาก จะมีอาการเหนื่อยง่าย และเกิดภาวะหัวใจวายหรือน้ำท่วมปอดได้ 

 

โรคติดเชื้อบริเวณหัวใจ

เป็นไข้เรื้อรัง อ่อนเพลีย เหนื่อยล้า หัวใจเต้นผิดปกติ หายใจหอบเหนื่อย ไอเรื้อรังแห้ง ๆ ขาหรือช่องท้องบวม รวมถึงมีผื่นหรือจุดขึ้นตามผิวหนัง

แพทย์แนะนำ

ศูนย์ศัลยกรรมทั่วไป

พญ.กิติยา จันทรวิถี

พญ.กิติยา จันทรวิถี

ศูนย์ศัลยกรรมทั่วไป

อายุรแพทย์โรคหัวใจและหลอดเลือด

นพ. ลิขิต กำธรวิจิตรกุล

ศัลยเเพทย์ออร์ปิดิกส์

บทความที่เกี่ยวข้อง

สังคมก้มหน้า ที่มาของหลายโรค!!

“สังคมก้มหน้า” ที่ได้ยินกันจนคุ้นหูและเห็นภาพเหล่านี้จนชินตา นอกจากนี้ยังส่งผล กระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างคนรอบข้างแล้ว การเสพติดการใช้สมาร์ทโฟนมากเกินไปยังส่งผลกระทบต่อทั้งสุขภาพร่างกายด้วย

blank บทความโดย : โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
สังคมก้มหน้า ที่มาของหลายโรค!!

“สังคมก้มหน้า” ที่ได้ยินกันจนคุ้นหูและเห็นภาพเหล่านี้จนชินตา นอกจากนี้ยังส่งผล กระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างคนรอบข้างแล้ว การเสพติดการใช้สมาร์ทโฟนมากเกินไปยังส่งผลกระทบต่อทั้งสุขภาพร่างกายด้วย

blank บทความโดย : โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
กักตัวร่วมกับผู้ติดเชื้อโควิด-19 อย่างไร หากไม่มีห้องพักแยก

แม้ว่าในบางกรณี ผู้ป่วยจะมีคุณสมบัติตรงตามเงื่อนไขที่สามารถทำการกักตัวแยกที่บ้านได้ แต่หากมีผู้พักอาศัยร่วมในที่พัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในที่พักที่ไม่มีห้องพักแยก แนวทางปฏิบัติเพิ่มเติม เพื่อลดความเสี่ยงต่อการส่งต่อ-รับเชื้อ ระหว่างผู้ร่วมพักอาศัย

กักตัวร่วมกับผู้ติดเชื้อโควิด-19 อย่างไร หากไม่มีห้องพักแยก

แม้ว่าในบางกรณี ผู้ป่วยจะมีคุณสมบัติตรงตามเงื่อนไขที่สามารถทำการกักตัวแยกที่บ้านได้ แต่หากมีผู้พักอาศัยร่วมในที่พัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในที่พักที่ไม่มีห้องพักแยก แนวทางปฏิบัติเพิ่มเติม เพื่อลดความเสี่ยงต่อการส่งต่อ-รับเชื้อ ระหว่างผู้ร่วมพักอาศัย

#ต้องการmRNAvaccine รู้จักกับ ‘วัคซีน mRNA’ วัคซีนที่คนไทยเรียกร้อง

วันนี้เรามาทำความรู้จักกับวัคซีน mRNA ที่ใคร ๆ ต่างก็พูดถึงกันดีกว่าว่ามันคืออะไร ดีอย่างไร ทำไมคนไทยถึงต้องการวัคซีนชนิดนี้กัน โดยพวกเรา เครือโรงพยาบาลพริ้นซิเพิล เฮลท์แคร์ ได้รวบรวมข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับวัคซีนชนิดดังกล่าวมาแบ่งปันให้ทุกคนทราบกัน

blank โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
#ต้องการmRNAvaccine รู้จักกับ ‘วัคซีน mRNA’ วัคซีนที่คนไทยเรียกร้อง

วันนี้เรามาทำความรู้จักกับวัคซีน mRNA ที่ใคร ๆ ต่างก็พูดถึงกันดีกว่าว่ามันคืออะไร ดีอย่างไร ทำไมคนไทยถึงต้องการวัคซีนชนิดนี้กัน โดยพวกเรา เครือโรงพยาบาลพริ้นซิเพิล เฮลท์แคร์ ได้รวบรวมข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับวัคซีนชนิดดังกล่าวมาแบ่งปันให้ทุกคนทราบกัน

blank โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม