Header

อะไรคือ Computer vision syndrome?

พญ.พรรักษ์ ศรีพล พญ.พรรักษ์ ศรีพล

อะไรคือ Computer vision syndrome? โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ

Computer Vision Syndrome คืออะไร ?

เป็นกลุ่มโรคที่ ทำให้มีอาการทางตา ที่สัมพันธ์กับการใช้คอมพิวเตอร์ หรือ มือถือ เป็นเวลานาน โดยอาการทางตาจะเพิ่มมากขึ้นตามระยะเวลาที่ใช้งานคอมพิวเตอร์หรือมือถือ กล่าวคือ ถ้ายิ่งใช้งานคอมมาก อาการทางตาก็จะเป็นมากขึ้น
 

อาการมีอะไรบ้าง?

อาการที่พบมากในกลุ่มโรคดังกล่าวมีดังนี้

  • ปวดตา
  • ปวดหัว
  • ตามัว
  • ตาแห้ง
  • ปวดหลังและปวดต้นคอ
     

สาเหตุอาจจะเกิดจาก ภาวะดังต่อไปนี้

  • แสงสว่างน้อยเกินไป
  • ระยะห่างไม่เหมาะสม
  • ท่านั่งไม่เหมาะสม
  • มีปัญหาสายตาที่ไม่ได้แก้ไข

อาการเหล่าจะมีจะสัมพันธ์ชัดเจนกับระยะเวลาการใช้ digital screen ค่ะ ยิ่งใช้นานเท่าไหร่ก็จะเป็นมากขึ้น ทั้งนี้ความรุนแรงก็มีหลายระดับ บางคนพอพักแล้วก็หาย แต่บางคนสามารถมีผลต่อเนื่องได้แม้กระทั้งหยุดใช้งานค่ะ 

ทำไมถึงมีอาการเหล่านั้น?

การจองมองคอมพิวเตอร์จะทำให้ตาทำงานหนักค่ะ และก็ขึ้นอยู่กับแต่ละคนด้วยว่าจะมีอาการขนาดไหน เพราะการอ่านในคอมพิวเตอร์ไม่เหมือนกับการอ่านในหนังสือ เนื่องด้วย ความคงที่ของแสง การมีแสงกระจาย การมีแสงเสะท้อน ที่มีมากในการผ่านจอ เหล่านี้ทำให้ ตาทำงานหนักกว่าการอ่านในกระดาษค่ะ

ภาวะสายตาผิดปกติเล็กน้อยที่มีเดิมอยู่แล้วจะทำให้มีอาการมากยิ่งขึ้น

ท่านั่งและมุมในการอ่านที่ไม่เหมาะสม จะทำให้ตา focus มากขึ้นส่งผลให้มีอาการมากยิ่งขึ้น บางคนเอียงคอ หรือ นั่งห่างไปเพื่อที่จะทำให้ภาพชัดขึ้นจะส่งให้มีอาการปวดคอและปวดหลังเพราะการเกร็งกล้ามเนื้อด้วยค่ะ

วินิจฉัยอย่างไร

  • ประวัติ
  • การตรวจสายตา Visual acuity
  • วัดสายตา Refraction
  • การ Focus ของตา

รักษาอย่างไร

Eye Care

  • แก้ไขสายตาให้ถูกต้อง 
  • ใช้แว่นตาให้เหมาะสมกับการมองคอมพิวเตอร์
  • ทำ  visual therapy เพื่อฝึกให้สมองสามารถ Focus กับ computor ได้

การมอง Computor

ท่านั่งให้เหมาะสมและถูกต้องประกอบไปด้วย

  • ตำแหน่งของจอ
  • ตำแหน่ง Keyboard
  • แสงสว่าง
  • Anti-glare screens
  • ท่านั่ง
  • พักสายตา
  • กระพริบตา

ควรปรับท่าทางการนั่งทำงานให้อยู่ให้ระดับที่เหมาะสม เเละควรตรวจตาโดยจักษุแพทย์เป็นประจำอย่างน้อยปีละ 1-2 ครั้ง นะคะ

 



ศูนย์การรักษาที่เกี่ยวข้อง

แผนกจักษุ

สถานที่

อาคาร A ชั้น G

เวลาทำการ

จันทร์ - อาทิตย์ 08.00 -17.00

เบอร์ติดต่อ

02 080 5999 ต่อ 4011

แพทย์ประจำศูนย์

แผนกตา หู คอ จมูก

พญ.ชลิสรา สุบงกฎ

นาสิกวิทยาและโรคภูมิแพ้

แผนกตา หู คอ จมูก

นพ.กฤษณะ พงศกรกุล

จอตาและวุ้นตา

แผนกตา หู คอ จมูก

พญ.จิราภา ทรงเพ็ชร์มงคล

จักษุแพทย์, เด็กและตาเข

แพทย์แนะนำ

ศูนย์ศัลยกรรมทั่วไป

พญ.กิติยา จันทรวิถี

พญ.กิติยา จันทรวิถี

ศูนย์ศัลยกรรมทั่วไป

อายุรแพทย์โรคหัวใจและหลอดเลือด

นพ. ลิขิต กำธรวิจิตรกุล

ศัลยเเพทย์ออร์ปิดิกส์

บทความที่เกี่ยวข้อง

โรคหลอดเลือดสมอง นักฆ่าเฉียบพลัน

โรคหลอดเลือดสมอง หรือโรคอัมพาตเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ของประเทศไทย!

โรคหลอดเลือดสมอง นักฆ่าเฉียบพลัน

โรคหลอดเลือดสมอง หรือโรคอัมพาตเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ของประเทศไทย!

โรคหมอนรองกระดูกเคลื่อนทับเส้นประสาท (Herniated disc)

โรคหมอนรองกระดูกเคลื่อนทับเส้นประสาท คือการเสื่อมสภาพของเส้นสันหลัง ซึ่งอาจเกิดจาก การเสื่อมสภาพ การบาดเจ็บ การขยายตัวของเส้นสันหลัง เเละสภาพพันธุกรรม หรือปวดหลังบริเวณเอวส่วนล่าง อาจมีอาการที่หลังเพียงข้างเดียวหรือทั้งสองข้าง มักมีอาการในท่านั่ง หรือมีการนั่งงอตัวไปทางด้านหน้า ซึ่งเป็นท่าที่หมอนรองกระดูกได้รับแรงกดทับมากที่สุด

นพ.ปรัชญ์ พิพัฒน์วัฒนา โรงพยาบาลพริ้นซ์สุวรรณภูมิ นพ.ปรัชญ์ พิพัฒน์วัฒนา

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
โรคหมอนรองกระดูกเคลื่อนทับเส้นประสาท (Herniated disc)

โรคหมอนรองกระดูกเคลื่อนทับเส้นประสาท คือการเสื่อมสภาพของเส้นสันหลัง ซึ่งอาจเกิดจาก การเสื่อมสภาพ การบาดเจ็บ การขยายตัวของเส้นสันหลัง เเละสภาพพันธุกรรม หรือปวดหลังบริเวณเอวส่วนล่าง อาจมีอาการที่หลังเพียงข้างเดียวหรือทั้งสองข้าง มักมีอาการในท่านั่ง หรือมีการนั่งงอตัวไปทางด้านหน้า ซึ่งเป็นท่าที่หมอนรองกระดูกได้รับแรงกดทับมากที่สุด

นพ.ปรัชญ์ พิพัฒน์วัฒนา โรงพยาบาลพริ้นซ์สุวรรณภูมิ นพ.ปรัชญ์ พิพัฒน์วัฒนา

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
ปวดหลังเป็นอาการที่พบได้บ่อยในคนทุกเพศทุกวัย

อาการปวดหลัง ในปัจจุบันพบมากขึ้นในคนวัยทำงาน โดยอาจเป็นมากจนกระทั่งส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน หรือการนอนหลับได้

นพ.ปรัชญ์ พิพัฒน์วัฒนา โรงพยาบาลพริ้นซ์สุวรรณภูมิ นพ.ปรัชญ์ พิพัฒน์วัฒนา

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
ปวดหลังเป็นอาการที่พบได้บ่อยในคนทุกเพศทุกวัย

อาการปวดหลัง ในปัจจุบันพบมากขึ้นในคนวัยทำงาน โดยอาจเป็นมากจนกระทั่งส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน หรือการนอนหลับได้

นพ.ปรัชญ์ พิพัฒน์วัฒนา โรงพยาบาลพริ้นซ์สุวรรณภูมิ นพ.ปรัชญ์ พิพัฒน์วัฒนา

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม